การควบคุมการประเมินความเสียงการทุจริตประจำปี 2563

3 ตุลาคม 2562
 ประเภท : ข่าวประชาสัมพันธ์
ข้อมูลรูปที่เกี่ยวข้อง

การประเมินความเสี่ยงการทุจริต

   ประจำปีงบประมาณ 2563

 

 

 

 

ของ

 

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบ้องตี้

อำเภอไทรโยค

จังหวัดกาญจนบุรี

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

คำนำ

 

เหตุการณ์ความเสี่ยงด้านการทุจริตเกิดแล้วจะมีผลกระทบทางลบ ซึ่งปัญหามาจากสาเหตุ

ต่างๆ ที่ค้นหาต้นตอที่แท้จริงได้ยาก ความเสี่ยงจึงจำเป็นต้องคิดล่วงหน้าเสนอ การป้องกันการทุจริต คือ การแก้ปัญหาการทุจริตที่ยั่งยืน ซึ่งเป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของหัวหน้าส่วนราชการ และเป็นเจตจำนงของ ทุกองค์กรที่ร่วมต่อต้านการทุจริตทุกรูปแบบ อันเป็นวาระเร่งด่วนของรัฐบาล การนำเครื่องมือประเมินความเสี่ยงการทุจริตมาใช้ในองค์กร จะช่วยให้เป็นหลักประกันในระดับหนึ่งได้ว่าการดำเนินการขององค์กรจะไม่มีการทุจริต หรือในกรณีที่พบกับการทุจริตที่ไม่คาดคิด โอกาสที่จะประสบกับปัญหาน้อยกว่าองค์กรอื่น หรือหากเกิดความเสียหายขึ้นก็จะเป็นความเสียหายที่น้อยกว่าองค์กรที่ไม่มีการนำเครื่องมือประเมินความเสี่ยงการทุจริตมาใช้ เพราะได้มีการเตรียมการป้องกันล่วงหน้าไว้ โดยให้เป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานประจา ซึ่งไม่ใช่การเพิ่มภาระงานแต่อย่างใด

องค์การบริหารส่วนตำบลบ้องตี้ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีบทบาทในการขับเคลื่อน

หน่วยงานภาครัฐให้บริหารงานภายใต้กรอบธรรมาภิบาล โดยการประเมินความเสี่ยงการทุจริตจะเป็นเครื่องมือหนึ่งในการขับเคลื่อนธรรมาภิบาลเพื่อลดปัญหาการทุจริตภาครัฐ ตามคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 69/2557 ลงวันที่ 18 มิถุนายน 2557 เรื่อง มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตประพฤติ มิชอบที่กำหนดให้ทุกส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ โดยมุ่งเน้นการสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารงาน และส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการตรวจสอบ เฝ้าระวัง เพื่อสกัดกั้นมิให้เกิดการทุจริตประพฤติ มิชอบได้

องค์การบริหารส่วนตำบลบ้องตี้ จึงได้ดำเนินการประเมินความเสี่ยงในองค์กรขึ้น เพื่อให้หน่วยงาน

มีมาตรการ ระบบหรือแนวทางในการบริหารจัดการความเสี่ยงของการดำเนินงานที่อาจก่อให้เกิดการทุจริตซึ่งเป็นมาตรการป้องกันการทุจริตเชิงรุกที่มีประสิทธิภาพต่อไป

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

     องค์การบริหารส่วนตำบลบ้องตี้

มกราคม 2563

 

 

 

 

 

สารบัญ

 

เรื่อง                                                                                                    หน้า

 

1.วัตถุประสงค์การประเมินความเสี่ยงการทุจริต 1

2.การบริหารจัดการความเสี่ยงมีความแตกต่างจากการตรวจสอบภายในอย่างไร 2

3.กรอบการประเมินความเสี่ยงการทุจริต 3

4.องค์ประกอบที่ทาให้เกิดการทุจริต 4

5.ขอบเขตประเมินความเสี่ยงการทุจริต 5

6.ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงการทุจริต 6

   วิธีวิเคราะห์ความเสี่ยง 6

1.การระบุความเสี่ยง 6

2.การวิเคราะห์สถานะความเสี่ยง 7

3.เมทริกส์ระดับความเสี่ยง 7

4.การประเมินการควบคุมความเสี่ยง 8

5.แผนบริหารความเสี่ยง 9

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ประเมินความเสี่ยงการทุจริต

 

1.วัตถุประสงค์การประเมินความเสี่ยงการทุจริต

มาตรการป้องกันการทุจริตสามารถจะช่วยลดความเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดการทุจริตในองค์กรได้

ดังนั้น การประเมินความเสี่ยงด้านการทุจริต การออกแบบและการปฏิบัติงานตามมาตรการควบคุมภายในที่เหมาะสมจะช่วยลดความเสี่ยงด้านการทุจริต ตลอดจนการสร้างจิตสานึกและค่านิยมในการต่อต้านการทุจริตให้แก่บุคลากรขององค์ถือเป็นการป้องกันการเกิดการทุจริตในองค์กร ทั้งนี้ การนาเครื่องมือประเมินความเสี่ยงมาใช้ในองค์กรจะช่วยให้เป็นหลักประกันในระดับหนึ่งว่า การดาเนินการขององค์กรจะไม่มีการทุจริต หรือในกรณีที่พบกับการทุจริตที่ไม่คาดคิดโอกาสที่จะประสบกับปัญหาน้อยกว่าองค์กรอื่น หรือหากเกิดความเสียหายขึ้นก็จะเป็นความเสียหายที่น้อยกว่าองค์กรที่ไม่มีการนาเครื่องมือประเมินความเสี่ยงมาใช้เพราะได้มีการเตรียมการป้องกันล่วงหน้าไว้โยให้เป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานประจา ซึ่งไม่ใช่การเพิ่มภาระงานแต่อย่างใด

วัตถุประสงค์หลักของการประเมินความเสี่ยงการทุจริต เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐมีมาตรการ ระบบ หรือ แนวทางในการบริหารจัดการความเสี่ยงของการดาเนินงานที่อาจก่อให้เกิดการทุจริต ซึ่งเป็นมาตรการป้องกันการทุจริตเชิงรุกที่มีประสิทธิภาพต่อไป

2. การบริหารจัดการความเสี่ยงมีความแตกต่างจากการตรวจสอบภายในอย่างไร

การบริหารจัดการความเสี่ยงเป็นการทางานในลักษณะที่ทุกภาระงานต้องประเมินความเสี่ยงก่อน

ปฏิบัติงานทุกครั้ง และแทรกกิจกรรมการตอบโต้ความเสี่ยงไว้ก่อนเริ่มปฏิบัติงานหลักตามภาระงานปกติของการเฝ้าระวังความเสี่ยงล่วงหน้าจากทุกภาระงานร่วมกันโดยเป็นส่วนหนึ่งของความรับผิดชอบปกติที่มีการรับรู้และยอมรับจากผู้ที่เกี่ยวข้อง(ผู้นาส่งงานให้) เป็นลักษณะ Pre-Decision ส่วนการตรวจสอบภายในจะเป็นลักษณะกากับติดตามความเสี่ยงเป็นการสอบทาน เป็นลักษณะ Post-Decision

3. กรอบการประเมินความเสี่ยงการทุจริต

กรอบตามหลักของ การควบคุมภายในองค์กร ตามมาตรฐาน COSO 2013(Committee of

Sponsoring Organizations 2013) ซึ่งมาตรฐาน COSO เป็นมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับมาตั้งแต่เริ่มออกประกาศใช้เมื่อปี 1992 สาหรับมาตรฐาน COSO 2013 ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ 17 หลักการ ดังนี้

องค์ประกอบที่ 1 สภาพแวดล้อมการควบคุม(Control Environment)

หลักการที่ 1 องค์กรยึดหลักความซื่อตรงและจริยธรรม

หลักการที่ 2 คณะกรรมการแสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อการกากับดูแล

หลักการที่ 3 คณะกรรมการและฝ่ายบริหาร มีอำนาจการสั่งการชัดเจน

หลักการที่ 4 องค์กร จูงใจ รักษาไว้ และจูงใจพนักงาน

หลักการที่ 5 องค์กรผลักดันให้ทุกตาแหน่งรับผิดชอบต่อการควบคุมภายใน

องค์ประกอบที่ 2 การประเมินความเสี่ยง(Risk Assessment)

หลักการที่ 6 กำหนดเป้าหมายชัดเจน

หลักการที่ 7 ระบุและวิเคราะห์ความเสี่ยงอย่างครอบคลุม

หลักการที่ 8 พิจารณาโอกาสที่จะเกิดการทุจริต

หลักการที่ 9 ระบุและประเมินความเปลี่ยนแปลงที่จะกระทบต่อการควบคุมภายใน

องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการควบคุม(Control Activities)

หลักการที่ 10 ควบคุมความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้

หลักการที่ 11 พัฒนาระบบเทคโนโลยีที่ใช้ในการควบคุม

หลักการที่ 12 ควบคุมให้นโยบายสามารถปฏิบัติได้

องค์ประกอบที่ 4 สารสนเทศและการสื่อสาร(Information and Communication)

หลักการที่ 13 องค์กรข้อมูลที่เกี่ยวข้องและมีคุณภาพ

หลักการที่ 14 มีการสื่อสารข้อมูลภายในองค์กร ให้การควบคุมภายในดาเนินต่อไปได้

หลักการที่ 15 มีการสื่อสารกับหน่วยงานภายนอก ในประเด็นที่อาจกระทบต่อการควบคุมภายใน

องค์ประกอบที่ 5 กิจกรรมการกากับติดตามและประเมินผล(Monitoring Activities)

หลักการที่ 16 ติดตามและประเมินผลการควบคุมภายใน

หลักการที่ 17 ประเมินและสื่อสารข้อบกพร่องของการควบคุมภายในทันเวลาและเหมาะสม

ทั้งนี้ องค์ประกอบการควบคุมภายในแต่ละองค์ประกอบและหลักการจะต้อง Present &

Function (มีอยู่จริงและนาไปปฏิบัติได้) อีกทั้งทางานอย่างสอดคล้องและสัมพันธ์กัน จึงจะทาให้การควบคุมภายในมีประสิทธิผล

4. องค์ประกอบที่ทาให้เกิดการทุจริต

องค์ประกอบหรือปัจจัยที่นาไปสู่การทุจริต ประกอบด้วย Pressure/Incentive หรือแรงกดดัน

หรือแรงจูงใจ Opportunity หรือ โอกาส ซึ่งเกิดจากช่องโหว่ของระบบต่างๆ คุณภาพการควบคุมกากับควบคุมภายในขององค์กรมีจุดอ่อน และ Rationalization หรือ การหาเหตุผลสนับสนุนการกระทาตามทฤษฎี สามเหลี่ยมการทุจริต (Fraud Triangle)

Opportunity

5. ขอบเขตประเมินความเสี่ยงการทุจริต

องค์การบริหารส่วนตำบลบ้องตี้ จะแบ่งความเสี่ยงออกเป็น 3 ด้าน ดังนี้

5.1 ความเสี่ยงการทุจริตที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาอนุมัติ อนุญาต(เฉพาะหน่วยงานที่มีภารกิจให้บริการประชาชนอนุมัติ หรืออนุญาต ตามพระราชบัญญัติการอานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558)

5.2 ความเสี่ยงการการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อำนาจและตาแห่นงหน้าที่

5.3 ความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้จ่ายงบประมาณและการบริหารจัดการทรัพยากรภาครัฐ

การพิจารณาอนุมัติ อนุญาต

การใช้อำนาจและตาแห่นงหน้าที่

การใช้จ่ายงบประมาณ และการบริหารจัดการทรัพยากรภาครัฐ

6. ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงการทุจริต มี 9 ขั้นตอน ดังนี้

1. การะบุความเสี่ยง

2. การวิเคราะห์สถานะความเสี่ยง

3. เมทริกส์ระดับความเสี่ยง

4. การประเมินการควบคุมความเสี่ยง

5. แผนบริหารความเสี่ยง

6. การจัดทารายงานผลการเฝ้าระวังความเสี่ยง

7. จัดทาระบบการบริหารความเสี่ยง

8. การจัดทารายงานการบริหารความเสี่ยง

9. การรายงานผลการดาเนินงานตามแผนการบริหารความเสี่ยง

 

วิธีวิเคราะห์ความเสี่ยง

เป็นการวิเคราะห์โดยเริ่มจากการระบุความเสี่ยงจากกระบวนงานต่างๆ อธิบายรูปแบบพฤติการณ์

เหตุการณ์ความเสี่ยงต่อการทุจริต การวิเคราะห์ระดับความรุนแรงของผลกระทบ กับระดับความจาเป็นของการเฝ้าระวัง และการกeหนดมาตรการ/กิจกรรม/แนวทาง ในการป้องกันความเสี่ยงของการดาเนินงานที่อาจก่อให้เกิดการทุจริตในองค์การบริหารส่วนตำบลบ้องตี้ ที่มีประสิทธิภาพ

 

1.การระบุความเสี่ยง(Risk Identification)

ประเมินความเสี่ยงการทุจริต ด้าน

ความเสี่ยงการทุจริตที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาอนุมัติ อนุญาต(เฉพาะหน่วยงานที่มีภารกิจให้บริการประชาชนอนุมัติ หรืออนุญาต ตามพระราชบัญญัติการอานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558) ความเสี่ยงการการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อำนาจและตาแห่นงหน้าที่

ความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้จ่ายงบประมาณและการบริหารจัดการทรัพยากรภาครัฐ

5.3 ความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้จ่ายงบประมาณและการบริหารจัดการทรัพยากรภาครัฐ

การพิจารณาอนุมัติ อนุญาต

การใช้อำนาจและตาแห่นงหน้าที่

การใช้จ่ายงบประมาณ และการบริหารจัดการทรัพยากรภาครัฐ

6. ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงการทุจริต มี 9 ขั้นตอน ดังนี้

1. การะบุความเสี่ยง

2. การวิเคราะห์สถานะความเสี่ยง

3. เมทริกส์ระดับความเสี่ยง

4. การประเมินการควบคุมความเสี่ยง

5. แผนบริหารความเสี่ยง

6. การจัดทารายงานผลการเฝ้าระวังความเสี่ยง

7. จัดทาระบบการบริหารความเสี่ยง

8. การจัดทารายงานการบริหารความเสี่ยง

9. การรายงานผลการดาเนินงานตามแผนการบริหารความเสี่ยง

 

วิธีวิเคราะห์ความเสี่ยง

เป็นการวิเคราะห์โดยเริ่มจากการระบุความเสี่ยงจากกระบวนงานต่างๆ อธิบายรูปแบบพฤติการณ์

เหตุการณ์ความเสี่ยงต่อการทุจริต การวิเคราะห์ระดับความรุนแรงของผลกระทบ กับระดับความจาเป็นของการเฝ้าระวัง และการกeหนดมาตรการ/กิจกรรม/แนวทาง ในการป้องกันความเสี่ยงของการดาเนินงานที่อาจก่อให้เกิดการทุจริตในองค์การบริหารส่วนตำบลบ้องตี้ ที่มีประสิทธิภาพ

 

1.การระบุความเสี่ยง(Risk Identification)

ประเมินความเสี่ยงการทุจริต ด้าน ความเสี่ยงการทุจริตที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาอนุมัติ อนุญาต(เฉพาะหน่วยงานที่มีภารกิจให้บริการประชาชนอนุมัติ หรืออนุญาต ตามพระราชบัญญัติการอานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558) ความเสี่ยงการการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้อำนาจและตาแห่นงหน้าที่ ความเสี่ยงการทุจริตในความโปร่งใสของการใช้จ่ายงบประมาณและการบริหารจัดการทรัพยากรภาครัฐ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ข้อมูลไฟล์ที่เกี่ยวข้อง